เงินปันผลที่ไม่สามารถขอภาษีคืนได้
ไม่ใช่ว่าเงินปันผลทุกบริษัทจะสามารถขอเงินภาษีคืนได้ ต้องเช็คก่อนว่าบริษัทที่นักลงทุน ถือหุ้นอยู่นั้นมีการเสียภาษีนิติบุคคลหรือไม่ หาก
กิจการนั้นไม่ได้เสียภาษีนิติบุคคล ผู้ลงทุนจะไม่สามารถใช้ เครดิตเงินปันผลได้ หรือไม่สามารถขอเงินปันผลคืนได้ ตัวอย่างบริษัทที่ไม่เสียภาษี
นิติบุคคลมักจะเป็น กิจการที่มีการส่งเสริมด้านการลงทุนของรัฐบาล หรือ มีกฎหมายพิเศษยกเว้น เช่น พาณิชย์นาวี เป็นต้น
เงินปันผลที่สามารถขอภาษีเงินคืนได้
หากผู้ลงทุนเช็คแล้วว่าบริษัทที่ผู้ลงทุนถือหุ้นอยู่เสียภาษีนิติบุคคล ผู้ลงทุนสามารถที่จะใช้ “เครดิตภาษีเงินปันผล” เพื่อขอรับเงินปันผลคืนได้
แต่จะสามารถใช้ได้ในอัตราเท่าใดนั้น ผู้ลงทุนจะต้องดูว่าบริษัทนั้นเสียภาษีนิติบุคคลในอัตราเท่าไร และนำไปแทนในสูตร ดังนี้
ตัวอย่างการคำนวน “เครดิตภาษีเงินปันผล”
นักลงทุนต้องเสียภาษี 22,000 บาท เมื่อหักลบกับภาษีที่ถูกหัก ณ ที่จ่ายไปแล้ว 29,000 บาท และเครดิตภาษีอีก 1,000 บาท ทำให้
นักลงทุนไม่ต้องชำระภาษีเพิ่มตอนสิ้นปี cและยังได้เงินคืนจากกรมสรรพากรจำนวน12,000 บาท
* เครดิตภาษีเงินปันผลคำนวณจาก [20/(100 – 20)] x 20,000 = 5,000 บาท
** ภาษีหัก ณ ที่จ่ายของเงินปันผลคำนวณจาก 10,000 x 10% = 1,000 บาท
มี “เครดิตภาษีเงินปันผล” ใช่ว่าจะสมควรใช้เสมอ
เพราะว่าการขอเงินภาษีคืนนั้น จะต้องพิจารณาฐานเงินได้ของผู้ยื่นขอเงินคืนด้วย บางคนยื่นขอภาษีคืนทำให้ฐานรายได้เพิ่มขึ้น ซึ่งจะทำให้
ฐานภาษีเพิ่มขึ้นด้วย มีผลทำให้ไม่ได้รับเงินคืน และยังต้องจ่ายเพิ่มอีกด้วย การพิจารณาการใช้ เครดิตภาษีเงินปันผล สามารถทำได้ดังนี้
ไม่ใช่ว่าเงินปันผลทุกบริษัทจะสามารถขอเงินภาษีคืนได้ ต้องเช็คก่อนว่าบริษัทที่นักลงทุน ถือหุ้นอยู่นั้นมีการเสียภาษีนิติบุคคลหรือไม่ หาก
กิจการนั้นไม่ได้เสียภาษีนิติบุคคล ผู้ลงทุนจะไม่สามารถใช้ เครดิตเงินปันผลได้ หรือไม่สามารถขอเงินปันผลคืนได้ ตัวอย่างบริษัทที่ไม่เสียภาษี
นิติบุคคลมักจะเป็น กิจการที่มีการส่งเสริมด้านการลงทุนของรัฐบาล หรือ มีกฎหมายพิเศษยกเว้น เช่น พาณิชย์นาวี เป็นต้น
เงินปันผลที่สามารถขอภาษีเงินคืนได้
หากผู้ลงทุนเช็คแล้วว่าบริษัทที่ผู้ลงทุนถือหุ้นอยู่เสียภาษีนิติบุคคล ผู้ลงทุนสามารถที่จะใช้ “เครดิตภาษีเงินปันผล” เพื่อขอรับเงินปันผลคืนได้
แต่จะสามารถใช้ได้ในอัตราเท่าใดนั้น ผู้ลงทุนจะต้องดูว่าบริษัทนั้นเสียภาษีนิติบุคคลในอัตราเท่าไร และนำไปแทนในสูตร ดังนี้
ตัวอย่างการคำนวน “เครดิตภาษีเงินปันผล”
นักลงทุนต้องเสียภาษี 22,000 บาท เมื่อหักลบกับภาษีที่ถูกหัก ณ ที่จ่ายไปแล้ว 29,000 บาท และเครดิตภาษีอีก 1,000 บาท ทำให้
นักลงทุนไม่ต้องชำระภาษีเพิ่มตอนสิ้นปี cและยังได้เงินคืนจากกรมสรรพากรจำนวน12,000 บาท
* เครดิตภาษีเงินปันผลคำนวณจาก [20/(100 – 20)] x 20,000 = 5,000 บาท
** ภาษีหัก ณ ที่จ่ายของเงินปันผลคำนวณจาก 10,000 x 10% = 1,000 บาท
มี “เครดิตภาษีเงินปันผล” ใช่ว่าจะสมควรใช้เสมอ
เพราะว่าการขอเงินภาษีคืนนั้น จะต้องพิจารณาฐานเงินได้ของผู้ยื่นขอเงินคืนด้วย บางคนยื่นขอภาษีคืนทำให้ฐานรายได้เพิ่มขึ้น ซึ่งจะทำให้
ฐานภาษีเพิ่มขึ้นด้วย มีผลทำให้ไม่ได้รับเงินคืน และยังต้องจ่ายเพิ่มอีกด้วย การพิจารณาการใช้ เครดิตภาษีเงินปันผล สามารถทำได้ดังนี้
- ถ้าฐานภาษีเงินได้ของเรา > อัตราภาษีเงินได้ของบริษัท -> ไม่ควรใช้เครดิตภาษีเงินปันผล
- ถ้าฐานภาษีเงินได้ของเรา < อัตราภาษีเงินได้ของบริษัท -> ให้ใช้เครดิตเงินปันผล