• หน้าแรก

  • Accounting Articles

  • ตัวอย่างการคำนวณเบี้ยปรับและเงินเพิ่มภาษีมูลค่าเพิ่ม (ภ.พ.30)

ตัวอย่างการคำนวณเบี้ยปรับและเงินเพิ่มภาษีมูลค่าเพิ่ม (ภ.พ.30)

  • หน้าแรก

  • Accounting Articles

  • ตัวอย่างการคำนวณเบี้ยปรับและเงินเพิ่มภาษีมูลค่าเพิ่ม (ภ.พ.30)

ตัวอย่างการคำนวณเบี้ยปรับและเงินเพิ่มภาษีมูลค่าเพิ่ม (ภ.พ.30)


ตัวอย่างการคำนวณเบี้ยปรับและเงินเพิ่มภาษีมูลค่าเพิ่ม
ตามคำสั่งกรมสรรพากรที่ ป. 81/2542


 1. ตัวอย่างการคำนวณเบี้ยปรับและเงินเพิ่มภาษีมูลค่าเพิ่มนี้ได้แสดงการคำนวณภาษีขายหักด้วยภาษีที่ซื้อทั้งกรณีจากการยื่นแบบแสดงรายการ ภ.พ.30 และจากการคำนวณภาษีที่ถูกต้อง ซึ่งการคำนวณภาษีขายหักด้วยภาษีซื้อจำนวนที่ถูกต้องอาจเกิดจากกรณีที่ผู้มีหน้าที่เสียภาษีตรวจสอบความผิดเองและไปยื่นแบบแสดงรายการ ภ.พ.30 เพิ่มเติม หรืออาจเกิดจากการตรวจสอบของเจ้าพนักงานประเมินซึ่งเจ้าพนักงานประเมินจะได้มีหนังสือแจ้งการประเมินภาษีต่อไป
 2. การคำนวณเบี้ยปรับในกรณีการไม่ได้จัดทำใบกำกับภาษีและส่งมอบให้แก่ผู้ซื้อสินค้าหรือผู้รับบริการ หรือไม่ได้จัดทำรายงานภาษีมูลค่าเพิ่ม หรือลงรายการในรายงานไม่ถูกต้องครบถ้วน หรือกรณีมีสินค้าขาดจากรายงานสินค้าและวัตถุดิบ เป็นการคำนวณเบี้ยปรับนอกเหนือจากการคำนวณภาษีตาม 1. ซึ่งได้อธิบายวิธีการคำนวณไว้ในคำสั่งกรมสรรพากรดังกล่าวแล้ว

1. กรณีไม่ได้ยื่นแบบ ภ.พ.30
  1.1 การคำนวณภาษีมูลค่าเพิ่มมีภาษีต้องชำระ
    ภาษีขาย (บาท)
1,000
   
    ภาษีซื้อ
   750
   
    ภาษีที่ต้องชำระ
   250
   
    เงินเพิ่ม มาตรา 89/1     250 X 1.5% ต่อเดือน
    เบี้ยปรับ มาตรา 89(2)     250 X 2 เท่า
  1.2 การคำนวณภาษีมูลค่าเพิ่มมีภาษีชำระเกิน
    ภาษีขาย (บาท)
1,000
   
    ภาษีซื้อ
   1,750
   
    ภาษีที่ต้องชำระ
   0
   
    ภาษีที่ชำระไว้เกิน
   (750)
   
    เงินเพิ่ม มาตรา 89/1     ไม่มี
    เบี้ยปรับ มาตรา 89(2)     ไม่มี

2. กรณียื่นแบบ ภ.พ.30 เมื่อพ้นกำหนดเวลา ซึ่งผู้มีหน้าที่เสียภาษีต้องรับผิดเบี้ยปรับและเงินเพิ่มตาม 1. ไปแล้ว ต่อมาได้มีการยื่นแบบ ภ.พ. 30 เพิ่มเติม หรือเจ้าพนักงานประเมินตรวจสอบพบความผิด
  2.1 แบบ ภ.พ.30 ฉบับปกติมีภาษีต้องชำระและการคำนวณที่ถูกต้องมีภาษีต้องชำระ

 
แบบ ภ.พ. 30
ความถูกต้อง
ผลต่าง
 
ภาษีขาย (บาท)  
1,000
1,600
600
  ขายขาด
ภาษีซื้อ  
   750
   400
  (350)
  ซื้อเกิน
ภาษีที่ต้องชำระ  
250
1,200
950
  คลาดเคลื่อน
ภาษีชำระไว้เกินยกมา  
   (70)
   (70)
   0
   
ภาษีต้องชำระสุทธิ  
   180
 1,130
   950
   
เงินเพิ่ม มาตรา 89/1 950 X 1.5% ต่อเดือน
เบี้ยปรับ มาตรา 89(2) 950 X 2 เท่า
  มาตรา 89(4) ภาษีขายขาด 600 X 1 เท่า
  มาตรา 89(4) ภาษีซื้อเกิน 350 X 1 เท่า

 ให้เปรียบเทียบเบี้ยปรับและเรียกเก็บจำนวนที่ได้เงินมากกว่า คือ มาตรา 89(2) จำนวน 1,900 บาท

  2.2 แบบ ภ.พ.30 ฉบับปกติมีภาษีชำระไว้เกิน และการคำนวณที่ถูกต้องมีภาษีชำระไว้เกิน
 
แบบ ภ.พ. 30
ความถูกต้อง
ผลต่าง
 
ภาษีขาย (บาท)  
1,000
1,600
600
  ขายขาด
ภาษีซื้อ  
2,750
2,400
  (350)
  ซื้อเกิน
ภาษีที่ชำระไว้เกิน  
(1,750)
(800)
950
  คลาดเคลื่อน
ภาษีชำระไว้เกินยกมา  
   (70)
   (70)
   0
   
ภาษีต้องชำระไว้เกินสุทธิ  
(1,820)
(870)
   950
   
เงินเพิ่ม มาตรา 89/1 ไม่มี
เบี้ยปรับ มาตรา 89(2) ไม่มี
  มาตรา 89(4) ภาษีขายขาด 600 X 1 เท่า
  มาตรา 89(4) ภาษีซื้อเกิน 350 X 1 เท่า

 ให้เปรียบเทียบเบี้ยปรับและเรียกเก็บจำนวนที่ได้เงินมากกว่า คือ มาตรา 89(4) จำนวน 950 (600 + 350) บาท

  2.3 แบบ ภ.พ.30 ฉบับปกติมีภาษีชำระไว้เกิน แต่การคำนวณที่ถูกต้องมีภาษีต้องชำระ
 
แบบ ภ.พ. 30
ความถูกต้อง
ผลต่าง
 
ภาษีขาย (บาท)  
1,000
1,600
600
  ขายขาด
ภาษีซื้อ  
2,750
1,400
(1,350)
  ซื้อเกิน
ภาษีชำระไว้เกิน  
(1,750)
200
1,950
  คลาดเคลื่อน
ภาษีชำระไว้เกินยกมา  
   (70)
   (70)
   0
   
ภาษีชำระไว้เกินสุทธิ  
(1,820)
130
1,950
   
เงินเพิ่ม มาตรา 89/1 130 X 1.5% ต่อเดือน
เบี้ยปรับ มาตรา 89(2) 200 X 2 เท่า
  มาตรา 89(4) ภาษีขายขาด 600 X 1 เท่า
  มาตรา 89(4) ภาษีซื้อเกิน 1,350 X 1 เท่า

 ให้เปรียบเทียบเบี้ยปรับและเรียกเก็บจำนวนที่ได้เงินมากกว่า คือ มาตรา 89(4) จำนวน 1,950 (600 + 1,350) บาท

  2.4 แบบ ภ.พ.30 ฉบับปกติมีภาษีต้องชำระแต่การคำนวณที่ถูกต้องชำระไว้เกิน         
 
แบบ ภ.พ. 30
ความถูกต้อง
ผลต่าง
 
ภาษีขาย (บาท)  
1,000
1,600
600
  ขายขาด
ภาษีซื้อ  
   750
2,000
1,250
  ซื้อขาด
ภาษีต้องชำระ  
   250
(400)
(650)
  คลาดเคลื่อน
ภาษีชำระไว้เกินยกมา  
   (70)
   (70)
   0
   
ภาษีต้องชำระสุทธิ  
   180
(470)
(650)
   
เงินเพิ่ม มาตรา 89/1 ไม่มี
เบี้ยปรับ มาตรา 89(2) ไม่มี
  มาตรา 89(4) ภาษีขายขาด 600 X 1 เท่า
  มาตรา 89(4) ภาษีซื้อเกิน ไม่มี

 ให้เปรียบเทียบเบี้ยปรับและเรียกเก็บจำนวนที่ได้เงินมากกว่า คือ มาตรา 89(4) จำนวน 600 บาท

3. กรณียื่นแบบ ภ.พ.30 ภายในกำหนดเวลา แต่กรอกตัวเลขผิดพลาดและไม่ได้ชำระภาษีมูลค่าเพิ่มให้ถูกต้องครบถ้วนพร้อมการยื่นแบบ ภ.พ. 30
 
แบบ ภ.พ. 30
ความถูกต้อง
ผลต่าง
 
ภาษีขาย (บาท)  
2,500
2,500
  0
 
ภาษีซื้อ  
2,000
2,000
  0
 
ภาษีต้องชำระ  
  400
  500
 100
 
ภาษีชำระไว้เกินยกมา  
   (20)
   (20)
   0
   
ภาษีต้องชำระสุทธิ  
   380
   480
   100
   
เงินเพิ่ม มาตรา 89/1 480 X 1.5% ต่อเดือน
เบี้ยปรับ มาตรา 89(3) ไม่มี
  มาตรา 89(4) ไม่มี

4. กรณียื่นแบบ ภ.พ.30 ภายในกำหนดเวลาและชำระภาษีไปแล้ว ต่อมามีการยื่นแบบ ภ.พ. 30 เพิ่มเติมภายในกำหนดเวลาโดยชำระภาษีพร้อมการยื่นแบบเพิ่มเติม
 
แบบ ภ.พ. 30
ความถูกต้อง
ผลต่าง
 
ภาษีขาย (บาท)  
1,500
2,400
900
  ขายขาด
ภาษีซื้อ  
1,000
600
(400)
  ซื้อเกิน
ภาษีต้องชำระ  
500
1,800
1,300
  คลาดเคลื่อน
ภาษีชำระไว้เกินยกมา  
   (70)
   (70)
   0
   
ภาษีต้องชำระสุทธิ  
430
1,730
1,300
   
เงินเพิ่ม มาตรา 89/1 ไม่มี
เบี้ยปรับ มาตรา 89(3) ไม่มี
  มาตรา 89(4) ไม่มี

5. กรณียื่นแบบ ภ.พ.30 ภายในกำหนดเวลาและชำระภาษีไปแล้ว ต่อมามีการยื่นแบบ ภ.พ. 30 เพิ่มเติมภายในกำหนดเวลา โดยไม่ได้ชำระภาษีพร้อมการยื่นแบบเพิ่มเติม
 
แบบ ภ.พ. 30
ความถูกต้อง
ผลต่าง
 
ภาษีขาย (บาท)  
1,500
2,400
900
  ขายขาด
ภาษีซื้อ  
1,000
600
(400)
  ซื้อเกิน
ภาษีต้องชำระ  
500
1,800
1,300
  คลาดเคลื่อน
ภาษีชำระไว้เกินยกมา  
   (70)
   (70)
   0
   
ภาษีต้องชำระสุทธิ  
430
1,730
1,300
   
เงินเพิ่ม มาตรา 89/1 1,300 X 1.5% ต่อเดือน
เบี้ยปรับ มาตรา 89(3) ไม่มี
  มาตรา 89(4) ไม่มี




6. กรณียื่นแบบ ภ.พ.30 ภายในกำหนดเวลา และต่อมาทีการยื่นแบบ ภ.พ. 30 เพิ่มเติม เมื่อพ้นกำหนดเวลา หรือเจ้าพนักงานประเมินตรวจสอบพบความผิด
  6.1 แบบ ภ.พ. 30 ฉบับปกติมีภาษีต้องชำระและการคำนวณที่ถูกต้องมีภาษีต้องชำระ
 
แบบ ภ.พ. 30
ความถูกต้อง
ผลต่าง
 
ภาษีขาย (บาท)  
1,500
1,200
(300)
  ขายเกิน
ภาษีซื้อ  
1,000
600
(400)
  ซื้อเกิน
ภาษีที่ต้องชำระ  
500
600
100
  คลาดเคลื่อน
ภาษีชำระไว้เกินยกมา  
   (70)
   (70)
   0
   
ภาษีต้องชำระสุทธิ  
   430
   530
   100
   
เงินเพิ่ม มาตรา 89/1 100 X 1.5% ต่อเดือน
เบี้ยปรับ มาตรา 89(3) 100 X 1 เท่า
  มาตรา 89(4) ภาษีขายเกิน ไม่มี
  มาตรา 89(4) ภาษีซื้อเกิน 400 X 1 เท่า

 ให้เปรียบเทียบเบี้ยปรับและเรียกเก็บจำนวนที่ได้เงินมากกว่า คือ มาตรา 89(4) จำนวน 400 บาท

  6.2 แบบ ภ.พ.30 ฉบับปกติมีภาษีชำระไว้เกิน และการคำนวณที่ถูกต้องมีภาษีชำระไว้เกิน
 
แบบ ภ.พ. 30
ความถูกต้อง
ผลต่าง
 
ภาษีขาย (บาท)  
1,500
1,500
0
  ขายถูกต้อง
ภาษีซื้อ  
1,000
600
(400)
  ซื้อเกิน
ภาษีต้องชำระ  
500
900
400
  คลาดเคลื่อน
ภาษีชำระไว้เกินยกมา  
(950)
(950)
   0
   
ภาษีต้องชำระไว้เกินสุทธิ  
(450)
(50)
(400)
   
เงินเพิ่ม มาตรา 89/1 ไม่มี
เบี้ยปรับ มาตรา 89(3) 400 X 1 เท่า
  มาตรา 89(4) ภาษีขายถูกต้อง ไม่มี
  มาตรา 89(4) ภาษีซื้อเกิน 400 X 1 เท่า

 ให้เปรียบเทียบเบี้ยปรับและเรียกเก็บจำนวนที่ได้เงินมากกว่า คือ มาตรา 89(3) หรือมาตรา 89(4) จำนวน 400 บาท

  6.3 แบบ ภ.พ.30 ฉบับปกติมีภาษีชำระไว้เกิน แต่การคำนวณที่ถูกต้องมีภาษีต้องชำระ
 
แบบ ภ.พ. 30
ความถูกต้อง
ผลต่าง
 
ภาษีขาย (บาท)  
1,500
3,500
2,000
  ขายขาด
ภาษีซื้อ  
1,000
800
(200)
  ซื้อเกิน
ภาษีต้องชำระ  
500
2,700
2,200
  คลาดเคลื่อน
ภาษีชำระไว้เกินยกมา  
 (950)
 (950)
   0
   
ภาษีชำระไว้เกินสุทธิ  
(450)
1,750
2,200
   
เงินเพิ่ม มาตรา 89/1 1,750 X 1.5% ต่อเดือน
เบี้ยปรับ มาตรา 89(3) 2,200 X 1 เท่า
  มาตรา 89(4) ภาษีขายขาด 2,000 X 1 เท่า
  มาตรา 89(4) ภาษีซื้อเกิน 200 X 1 เท่า

 ให้เปรียบเทียบเบี้ยปรับและเรียกเก็บจำนวนที่ได้เงินมากกว่า คือมาตรา 89(3) หรือมาตรา 89(4) จำนวน 2,200 บาท

  6.4 แบบ ภ.พ.30 ฉบับปกติมีภาษีต้องชำระแต่การคำนวณที่ถูกต้องชำระไว้เกิน         
 
แบบ ภ.พ. 30
ความถูกต้อง
ผลต่าง
 
ภาษีขาย (บาท)  
1,500
2,400
900
  ขายขาด
ภาษีซื้อ  
1,000
2,600
(1,600)
  ซื้อขาด
ภาษีต้องชำระ  
   500
(200)
(700)
  คลาดเคลื่อน
ภาษีชำระไว้เกินยกมา  
   (70)
   (70)
   0
   
ภาษีต้องชำระสุทธิ  
   430
(270)
(700)
   
เงินเพิ่ม มาตรา 89/1 ไม่มี
เบี้ยปรับ มาตรา 89(3) ไม่มี
  มาตรา 89(4) ภาษีขายขาด 900 X 1 เท่า
  มาตรา 89(4) ภาษีซื้อเกิน ไม่มี

 ให้เปรียบเทียบเบี้ยปรับและเรียกเก็บจำนวนที่ได้เงินมากกว่า คือ มาตรา 89(4) จำนวน 900 บาท


7. กรณียื่นแบบ ภ.พ.30 โดยนำภาษีไว้เกินของเดือนที่ผ่านมา มาใช้ชำระภาษีมูลค่าเพิ่มเกินกว่าจำนวนภาษีชำระไว้เกินที่มีอยู่จริง
  7.1 กรณีแบบ ภ.พ. 30 ถูกต้อง
 
แบบ ภ.พ. 30
แบบ ภ.พ. 30
ความถูกต้อง
ผลต่าง
 
ม.ค. 42   
ก.พ. 42   
ก.พ. 42
ก.พ. 42
ภาษีขาย (บาท)  
1,500
3,500
3,500
0
ภาษีซื้อ  
1,000
1,200
1,200
      0
ภาษีที่ต้องชำระ  
500
2,300
2,300
0
ภาษีชำระไว้เกินยกมา  
 (750)
 *(350)
 *(250)
(100)  
ภาษีชำระไว้เกินสุทธิ  
 *(250)
 1,950
 2,050
 100  
เงินเพิ่ม มาตรา 89/1 100 X 1.5% ต่อเดือน
เบี้ยปรับ มาตรา 89(3) ไม่มี
  มาตรา 89(4) ไม่มี

  7.2 กรณีแบบ ภ.พ.30 แสดงภาษีขายขาด และภาษีซื้อเกินเป็นผลให้มีภาษีซื้อเกินเป็นผลให้ทีภาษีต้องชำระเพิ่มเติม
 
แบบ ภ.พ. 30
แบบ ภ.พ. 30
ความถูกต้อง
ผลต่าง
 
ม.ค. 42   
ก.พ. 42   
ก.พ. 42
ก.พ. 42
ภาษีขาย (บาท)  
1,500
3,500
3,800
300
ภาษีซื้อ  
1,000
1,200
1,000
  (200)
ภาษีที่ต้องชำระ  
500
2,300
2,800
500
ภาษีชำระไว้เกินยกมา  
 (750)
 *(350)
 *(250)
(100)  
ภาษีชำระไว้เกินสุทธิ  
 *(250)
 1,950
 2,550
 600  
เงินเพิ่ม มาตรา 89/1 600 X 1.5% ต่อเดือน
เบี้ยปรับ มาตรา 89(3) 500 X 1 เท่า
  มาตรา 89(4) ภาษีขาดขาด 300 X 1 เท่า
  มาตรา 89(4) ภาษีซื้อเกิน 200 X 1 เท่า

 ให้เปรียบเทียบเบี้ยปรับและเรียกเก็บจำนวนที่ได้เงินมากกว่า คือ มาตรา 89(3) หรือ มาตรา 89(4) คือ จำนวน 500 บาท

  7.3 กรณีแบบ ภ.พ.30 แสดงภาษีขายขาด และภาษีซื้อเกิน แต่ยังคงมีภาษีชำระเกิน
 
แบบ ภ.พ. 30
แบบ ภ.พ. 30
ความถูกต้อง
ผลต่าง
 
ม.ค. 42   
ก.พ. 42   
ก.พ. 42
ก.พ. 42
ภาษีขาย (บาท)  
1,500
3,500
3,550
50
ภาษีซื้อ  
1,000
3,420
3,400
  (20)
ภาษีที่ต้องชำระ  
500
80
150
70
ภาษีชำระไว้เกินยกมา  
 (750)
 *(350)
 *(250)
(100)  
ภาษีชำระไว้เกินสุทธิ  
 *(250)
 (270)
 (100)
  170  
เงินเพิ่ม มาตรา 89/1 ไม่มี
เบี้ยปรับ มาตรา 89(3) 70 X 1 เท่า
  มาตรา 89(4) ภาษีขาดขาด 50 X 1 เท่า
  มาตรา 89(4) ภาษีซื้อเกิน 20 X 1 เท่า

 ให้เปรียบเทียบเบี้ยปรับและเรียกเก็บจำนวนที่ได้เงินมากกว่า คือ มาตรา 89(3) หรือ มาตรา 89(4) คือ จำนวน 70 บาท




ที่มา : LINK
 6218
ผู้เข้าชม

บทความที่เกี่ยวข้อง

Landed Cost คือ ต้นทุนทั้งหมดที่เกี่ยวข้องกับการนำเข้าสินค้าจนถึงจุดหมายปลายทาง (เช่น คลังสินค้าของบริษัท) ซึ่งรวมถึงค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นนอกเหนือจากราคาสินค้าเอง ทำให้สามารถคำนวณราคาที่แท้จริงของสินค้าเมื่อถึงมือผู้ซื้อหรือผู้นำเข้าได้อย่างถูกต้อง
สำหรับธุรกิจที่เพิ่งเริ่มต้น แน่นอนว่ามักจะมีปัญหาทางการเงินเข้ามาให้เจ้าของธุรกิจต้องคอยรับมืออยู่ตลอดเวลา และแม้จะระมัดระวังเป็นอย่างดีด้วยความเป็นมือใหม่ก็อาจจะมีความผิดพลาดเกิดขึ้นได้ ซึ่งอย่างที่รู้กันว่าความผิดพลาดด้านการเงิน คือ หนทางแห่งความลำบากในการทำธุรกิจ สำหรับใครที่กำลังประสบปัญหาด้านการเงินในการทำธุรกิจ ลองทำความเข้าใจกับสิ่งที่ผิดพลาดเหล่านี้ดูเพื่อหาหนทางให้ธุรกิจอยู่รอดต่อไป โดยข้อผิดพลาดที่ผู้ประกอบการมักพบกันก็คือ
ไม่ว่าจะด้วยเหตุผลอะไร ที่ทำให้กิจการจำเป็นและจำใจต้อง เปลี่ยนสำนักงานบัญชี ใหม่ เรื่องที่สำคัญคือ
โปรแกรม ERP เป็นระบบบริหารจัดการทรัพยากรขององค์กรที่เชื่อมต่อและรวมรวมข้อมูลทั้งหมดขององค์กรในระบบเดียวกัน โดยรวมถึงเรื่องบัญชีทางการเงินด้วย โดยโปรแกรม ERP จะช่วยให้ฝ่ายบัญชีสามารถดำเนินการตรวจสอบรายการเงินสด รายการเจ้าหนี้ รายการลูกหนี้ รายการค่าใช้จ่าย และรายการบัญชีอื่นๆ ได้อย่างง่ายดาย
โปรแกรมบัญชี เป็นเครื่องมือที่สำคัญที่สุดเลยก็ว่าได้ เพราะงานบัญชีคือส่วนหนึ่งของธุรกิจ ที่ทำให้เจ้าของกิจการหรือผู้บริหารเห็นภาพรวมขององค์กรอย่างชัดเจน การมีโปรแกรมบัญชีเข้ามาช่วยงานบัญชีทำให้องค์กรมีความราบรื่น ถูกต้อง และมีประสิทธิภาพ อีกทั้งยังเพิ่มความน่าเชื่อถือให้กับองค์กรด้วย นับว่าเป็นสิ่งที่คุ้มค่ากับการลงทุนอย่างแน่นอน
"ยื่นภาษี 2566" การจ่ายภาษีเป็นหนึ่งในหน้าที่ของประชาชนพลเมืองไทย คนไทยทุกคนที่มีรายได้เกิน 120,000 บาทต่อปี มีหน้าที่ต้องยื่น "ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา" นี่ก็ผ่านมาถึงกลางปีแล้ว เพราะฉะนั้น ควรวางแผน ลดหย่อนภาษี ไว้แต่เนิ่น ๆ และหากใครกำลังสงสัยว่าสิทธิ "ลดหย่อนภาษี 2565" มีอะไรบ้าง ทีนี่มีคำตอบค่ะ
สร้างเว็บไซต์สำเร็จรูปฟรี ร้านค้าออนไลน์