ความแตกต่างของรายได้ตาม ภ.ง.ด.50 กับรายได้ ตาม ภ.พ.30

ความแตกต่างของรายได้ตาม ภ.ง.ด.50 กับรายได้ ตาม ภ.พ.30


ภ.ง.ด.50 และ ภ.พ.30
 เป็นการรับรู้รายได้ที่แตกต่างกัน โดยส่วนมากตาม ภ.ง.ด.50 หรือ ภาษีเงินได้นิติบุคคล (CIT: Corporate Income Tax) จะรับรู้รายได้ตามเกณฑ์คงค้าง ส่วนภ.พ. 30 (VAT) เป็นการรับรู้รายได้ตาม Tax Point ที่เกิดขึ้น ซึ่งเป็นไปตามหลักการรับรู้ของภาษีมูลค่าเพิ่ม ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับประเภทของธุรกิจ และประเภทรายได้ที่เกิดขึ้นด้วย

ตามตัวอย่างที่แสดงให้ดูในตารางสรุปด้านล่าง ดังนี้

ประเภทรายการ

ขายสินค้า (ทั่วไป)
ภาษีเงินได้นิติบุคคล(ภงด.50) :  เกณฑ์สิทธิ์
ภาษีมูลค่าเพิ่ม (ภพ.30)           :  เมื่อส่งมอบสินค้า


เช่าซื้อ
ภาษีเงินได้นิติบุคคล(ภงด.50)  :  ตามงวดที่ถึงกำหนดชำระ
ภาษีมูลค่าเพิ่ม (ภพ.30)            :  ตามงวดที่ถึงกำหนดชำระ

ส่งออก (ทั่วไป)
ภาษีเงินได้นิติบุคคล(ภงด.50)  :  เมื่อส่งมอบหรือโอนความเสี่ยงตามตกลง
ภาษีมูลค่าเพิ่ม (ภพ.30)            :  เมื่อผ่านพิธีศุลกากร FOB มาตรา 79 (1)

ให้บริการ (ทั่วไป)
ภาษีเงินได้นิติบุคคล(ภงด.50)  :  เกณฑ์สิทธิ์ตามส่วนของงานที่ทำเสร็จ
ภาษีมูลค่าเพิ่ม (ภพ.30)            :  เมื่อรับชำระเงิน

เงินสนับสนุน/ช่วยเหลือ
ภาษีเงินได้นิติบุคคล(ภงด.50)  :  รับรู้เป็นรายได้
ภาษีมูลค่าเพิ่ม (ภพ.30)            :  ไม่รวมเป็นฐานภาษี

ค่าปรับ/สินไหม
ภาษีเงินได้นิติบุคคล(ภงด.50)  :  รับรู้เป็นรายได้
ภาษีมูลค่าเพิ่ม (ภพ.30)            :  ไม่รวมเป็นฐานภาษี

กำไรจากอัตราแลกเปลี่ยน
ภาษีเงินได้นิติบุคคล(ภงด.50)  :  รับรู้เป็นรายได้
ภาษีมูลค่าเพิ่ม (ภพ.30)            :  ไม่รวมเป็นฐานภาษี

ส่งออกสินค้า
ภาษีเงินได้นิติบุคคล(ภงด.50)  :  รับรู้รายได้ตามมาตรา 70 ตรี
ภาษีมูลค่าเพิ่ม (ภพ.30)            :  ส่งออกอัตรา 0

ขายทรัพย์สินเก่า
ภาษีเงินได้นิติบุคคล(ภงด.50)  :  ​รับรู้เฉพาะส่วนที่เป็นกำไร
ภาษีมูลค่าเพิ่ม (ภพ.30)            :  รับรู้ VAT ทั้งจำนวน

แจกสินค้า
ภาษีเงินได้นิติบุคคล(ภงด.50)  :  ถือเป็นรายจ่าย
ภาษีมูลค่าเพิ่ม (ภพ.30)            :  รับรู้ VAT

ดอกเบี้ย/เงินปันผล
ภาษีเงินได้นิติบุคคล(ภงด.50)  :  รับรู้เป็นรายได้
ภาษีมูลค่าเพิ่ม (ภพ.30)            :  ไม่รวมเป็นฐานภาษี






ขอบคุณบทความจาก :: Ddproperty
ประกาศบทความโดย :: www.prosofterp.com
 8228
ผู้เข้าชม

บทความที่เกี่ยวข้อง

Landed Cost คือ ต้นทุนทั้งหมดที่เกี่ยวข้องกับการนำเข้าสินค้าจนถึงจุดหมายปลายทาง (เช่น คลังสินค้าของบริษัท) ซึ่งรวมถึงค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นนอกเหนือจากราคาสินค้าเอง ทำให้สามารถคำนวณราคาที่แท้จริงของสินค้าเมื่อถึงมือผู้ซื้อหรือผู้นำเข้าได้อย่างถูกต้อง
สำหรับธุรกิจที่เพิ่งเริ่มต้น แน่นอนว่ามักจะมีปัญหาทางการเงินเข้ามาให้เจ้าของธุรกิจต้องคอยรับมืออยู่ตลอดเวลา และแม้จะระมัดระวังเป็นอย่างดีด้วยความเป็นมือใหม่ก็อาจจะมีความผิดพลาดเกิดขึ้นได้ ซึ่งอย่างที่รู้กันว่าความผิดพลาดด้านการเงิน คือ หนทางแห่งความลำบากในการทำธุรกิจ สำหรับใครที่กำลังประสบปัญหาด้านการเงินในการทำธุรกิจ ลองทำความเข้าใจกับสิ่งที่ผิดพลาดเหล่านี้ดูเพื่อหาหนทางให้ธุรกิจอยู่รอดต่อไป โดยข้อผิดพลาดที่ผู้ประกอบการมักพบกันก็คือ
ไม่ว่าจะด้วยเหตุผลอะไร ที่ทำให้กิจการจำเป็นและจำใจต้อง เปลี่ยนสำนักงานบัญชี ใหม่ เรื่องที่สำคัญคือ
โปรแกรม ERP เป็นระบบบริหารจัดการทรัพยากรขององค์กรที่เชื่อมต่อและรวมรวมข้อมูลทั้งหมดขององค์กรในระบบเดียวกัน โดยรวมถึงเรื่องบัญชีทางการเงินด้วย โดยโปรแกรม ERP จะช่วยให้ฝ่ายบัญชีสามารถดำเนินการตรวจสอบรายการเงินสด รายการเจ้าหนี้ รายการลูกหนี้ รายการค่าใช้จ่าย และรายการบัญชีอื่นๆ ได้อย่างง่ายดาย
โปรแกรมบัญชี เป็นเครื่องมือที่สำคัญที่สุดเลยก็ว่าได้ เพราะงานบัญชีคือส่วนหนึ่งของธุรกิจ ที่ทำให้เจ้าของกิจการหรือผู้บริหารเห็นภาพรวมขององค์กรอย่างชัดเจน การมีโปรแกรมบัญชีเข้ามาช่วยงานบัญชีทำให้องค์กรมีความราบรื่น ถูกต้อง และมีประสิทธิภาพ อีกทั้งยังเพิ่มความน่าเชื่อถือให้กับองค์กรด้วย นับว่าเป็นสิ่งที่คุ้มค่ากับการลงทุนอย่างแน่นอน
"ยื่นภาษี 2566" การจ่ายภาษีเป็นหนึ่งในหน้าที่ของประชาชนพลเมืองไทย คนไทยทุกคนที่มีรายได้เกิน 120,000 บาทต่อปี มีหน้าที่ต้องยื่น "ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา" นี่ก็ผ่านมาถึงกลางปีแล้ว เพราะฉะนั้น ควรวางแผน ลดหย่อนภาษี ไว้แต่เนิ่น ๆ และหากใครกำลังสงสัยว่าสิทธิ "ลดหย่อนภาษี 2565" มีอะไรบ้าง ทีนี่มีคำตอบค่ะ
สร้างเว็บไซต์สำเร็จรูปฟรี ร้านค้าออนไลน์